วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555

มคอ3วิชาเวชกรรมไทย2





มคอ.3  รายละเอียดของรายวิชา
วิชา  เวชกรรมไทย  2
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
แพทย์แผนไทย


















อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา  :  อาจารย์นาวิน   เหมือนมี






มคอ. 3  รายละเอียดของรายวิชา


ชื่อสถาบันอุดมศึกษา :  วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร   จังหวัดพิษรุโลก
ภาควิชา  :   แพทย์แผนไทย
หมวดที่  1  ข้อมูลทั่วไป
1.  รหัสและชื่อรายวิชา
                :  131  3216   เวชกรรมไทย  2
                :  Thai  Traditional  Therapy  2

2.  จำนวนหน่วยกิจ   :  3  ( 2-3-4 )

3.  หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
                :  หลักสูตรประกาศนียบัตรสาธารณสุขวิชาชีพชั้นสูงแพทย์แผนไทย
                :  วิชาเลือก

4.  ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
                :  นายนาวิน          เหมือนมี
                :  นายประเสริฐ   อัตโตหิ
                :  นายเสถียร       ทองโต
                :  คณะอาจารย์เวชกรรมไทย

5.  ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
                :  ภาคการศึกษาที่  1  ปีการศึกษา  2555

6.  รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน  (  Pre-requisites  )
                :  เภสัชกรรมไทย  1

7.  รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน  (  Co-requisites  )
                :  ไม่มี

8.  สถานที่เรียน
                :  อาคารอำนวยการ  ชั้น  3

9.  วันที่จัดทำหรือปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
                :  19   พฤษภาคม   2555

หมวดที่   2   จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1.  จุดมุ่งหมายของรายวิชา
                ศึกษาโรคไข้ต่างๆ   โดยพิจารณาจากคัมภีร์ฉันทศาสตร์  พระคัมภีร์ตักศิลา  พระคัมภีร์สิทธิสารสงเคราะห์  ศึกษาโรคในปากในคอตามพระคัมภีร์มุขโรค  โรคของมารดาและเด็กตามพระคัมภีร์ปฐมจินดา  และโรคโลหิตระดูสตรีตามพระคัมภีร์มหาโชตรัตการบันทึกประวัติผู้ป่วย  แนวทางการรักษาและการเลือกใช้ยาแผนไทยเพื่อการรักษา  แนวทางการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรค  การฟื้นฟูสภาพ  และการส่งต่อผู้ป่วย
2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถอธิบายไข้ต่างๆ  ตามพระคัมภีร์ฉันทศาสตร์  พระคัมภีร์ตักศิลา  และพระคัมภีร์สิทธิสารสงเคราะห์ได้  อธิบายโรคในปากในคอตามพระคัมภีร์มุขโรคได้  อธิบายโรคของมารดา  และเด็กตามพระคัมภีร์มหาโชตรัต  หาแนวทางการรักษา  ส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค  ฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อผู้ป่วย

หมวดที่   3   ลักษณะและการดำเนินการ
1.  คำอธิบายรายวิชา
                 ศึกหลักความสำคัญของเวชกรรมไทย  หลักการพิจารณาคัมภีร์ต่างๆ    ฝึกทดลองการวินิจฉัยโรค  บันทึกประวัติผู้ป่วย  วางแผนแนวทางในการรักษา  การให้คำแนะนำการเลือกใช้ยาเพื่อรักษาการส่งเสริมคุณภาพและการป้องกันและควบคุมโรคการฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อผู้ป่วย

2.  จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา


บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
36   ชั่วโมง
ตามนักศึกษาขอ
54     ชั่วโมง
72    ชั่วโมง


3.   จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
                -  ทุกวันพุธ  เวลา  13.00  น. -  16.00  น.  และ ชั่วโมงว่าง วันอังคารและพฤหัส ตามที่นัดหมาย


หมวดที่  4   การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1.   คุณธรรม  จริยธรรม


คุณธรรม   จริยธรรมที่ต้อง
พัฒนาการ
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล

มีจริยธรรม  จรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์แผนไทย  โดยเฉพาะจรรยาเภสัช
-  การบรรยายสื่อทางคอมพิวเตอร์
-  การวิพากษ์
-  การสอบกลางภาค
-  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน


2.       ความรู้


ความรู้ที่ต้องได้รับ
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
มีความรู้ความเข้าใจในด้านเวชกรรมไทย
- การบรรยาย/สื่อ  Power point
-  การวิพากษ์กลุ่ม
- การสอบกลางภาค
- การซักถามระหว่างการบรรยาย
- การประเมินผลการสรุปงานวิจัย
มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเวชกรรมไทย
-  ทำการค้นคว้า
- การบรรยาย/สื่อ  Power point
-   ส่งผลงาน
-  ประเมินผลงาน
-  สังเกตการมีส่วนร่วม


3.  ทักษะทางปัญญา


ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
-  สืบค้นหาแหล่งข้อมูลเวชกรรมไทยและแก้ปัญหาทางนวัตกรรม
-  สอนบรรยาย
-  ค้นคว้า
-  ผลิตนวัตกรรม
-  สอบ
-  ประเมินผลงานที่ส่ง








4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ


ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ต่อสังคม  รับผิดชอบต่อการพัฒนาตนเอง  วิชาชีพ
- สอนบรรยาย
-  ควบคุมดูแลโดยอาจารย์
- ตรวจความรับผิดชอบต่องานที่ให้ทำ
- ตรวจงานที่มอบให้


5.       ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข  การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา


ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
นำเสนองานที่ค้นคว้าทางแพทย์แผนไทยโดยใช้เทคโนโลยี
- สอบบรรยาย
-  นำเสนอผลงานทางคอมพิวเตอร์
-  ตรวจผลการปฏิบัติงาน
-  สังเกตการณ์มีส่วนร่วม
-  ประเมินผลงาน


6.   ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ


ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
วิธีการสอน
วิธีการประเมินผล
-  สามารถใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย  ด้านเวชกรรมไทย  ในการดูแลสุขภาพของบุคคลเฉพาะชุมชนได้
- สอบบรรยาย
-  นำเสนอผลงานทางคอมพิวเตอร์
-  ตรวจผลการปฏิบัติงาน
-  สังเกตการณ์มีส่วนร่วม
-  ประเมินผลงาน















สมรรถนะ
                    1.  มีความสามารถอธิบายโรคไข้ตามคัมภีร์ฉันทศาสตร์ พระคัมภีร์ตักศิลา พระคัมภีร์สิทธิสารสงเคราะห์ โรคในปากในคอ โรคของมารดาและเด็ก และโรคโลหิตระดูสตรี
                    2.  มีความสามารถรักษาและส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพและส่งต่อผู้ป่วยตามคัมภีร์ฉันทศาสตร์ พระคัมภีร์สิทธิสารสงเคราะห์ ศึกษาโรคในปากในคอ ตามพระคัมภีร์มุขโรค โรคของมารดาและเด็กตามพระคัมภีร์ปฐมจินดา และโรคโลหิตระดูสตรีพระคัมภีร์มหาโชตรัต ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม โดยอยู่บนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
                    อ.นาวิน  เหมือนมี
ทีมอาจารย์ผู้สอน
                    1.  อ.ประเสริฐ  อัตโตหิ
                    2.  อ.เสถียร  ทองโต
                    3.และคณะเวชกรรมไทย
หัวข้อรายวิชา
วันเวลาที่เรียน ( ภาคปฏิบัติ )   : วันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00 น.
                          (ภาคทฤษฎี )  :  วันพุธ เวลา 10.00-12.00 น.

ครั้งที่
ว/ด/ป
หัวข้อ
จำนวนชั่วโมง
อาจารย์ผู้สอน
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
1.
13  มิ.ย  55
- โรคไข้ต่างๆ
   1.1  คัมภีร์ฉันทศาสตร์
   1.2  พระคัมภีร์ตักศิลา
   1.3  พระคัมภีร์สิทธิสารสงเคราะห์
   1.4  แนวทางการรักษา ส่งเสริมป้องกันและควบคุม และฟื้นฟูสภาพ
2
3
อ.นาวิน เหมือนมี
อ.เสถียร ทองโตและคณะ
14  มิ.ย. 55
2.
20  มิย.55
2
3
21  มิย.55
3.
27  มิย.55
2
3
28  มิย.55
4.
4  กค.55
2
3
5  กค.55
5.
11  กค.55
2

12  กค.55

3
6.
18  กค.55
2

19  กค.55

3


สอบกลางภาค




7.

25  กค.55
-  โรคในปากในคอ
   1.1  พระคัมภีร์มุขโรค
   1.2  แนวทางการรักษา ส่งเสริมป้องกัน และควบคุม และฟื้นฟูสภาพ
2

3

อ.เสถียร ทองโตและคณะ
26  กค.55
8.
8  สค.55
2

3
9  สค.55
 ครั้งที่
ว/ด/ป
หัวข้อ
จำนวนชั่วโมง
อาจารย์ผู้สอน
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
9

15  สค.55
-  โรคของมารดาและเด็ก
     1.1  พระคัมภีร์ปฐมจินดา
     1.2  แนวทางการรักษา ส่งเสริม ป้องกันและควบคุม และฟื้นฟูสภาพ
2







อ.ประเสริฐ  อัตโตหิและคณะ
16  สค.55

3
10.

22  สค.55
2

23  สค.55

3
11.
29  สค.55
2

30  สค.55
2

12.
5  กย.55

3
6  กย.55
2

13.
12  กย.55

3
13  กย.55

3

14.
27  กย.55
-  โรคโลหิตระดูสตรี
  1.1 พระคัมภีร์มหาโชตรัต
  1.2  แนวทางการรักษา ส่งเสริม ป้องกันและควบคุม และฟื้นฟูสภาพ
2




อ.นาวิน เหมือนมีและคณะ
3  ตค.55
2

15.
4  ตค.55

3
10  ตค.55
2

16
11  ตค.55

3
17  ตค.55
2

17.
18  ตค.55

3
24  ตค.55
2

18.
25  ตค.55

3
7  พย.55

3











หมายเหตุ  ครั้งที่ 18 เป็นการปฏิบัติการนอกเวลาควบคุมโดยอาจารย์นาวิน  เหมือนมี จำนวน 10 ชั่วโมง
2.   แผนประเมินผลการเรียนรู้
                1.  วิธีการประเมินผล

ลำดับ
วิธีการประเมินผล
ร้อยละ
1
คะแนนภาคทฤษฎี
   - สอบกลางภาคการศึกษา และสอบปลายภาคการศึกษา
   - รายงาน / งานที่มอบหมาย
50
40
10
2
คะแนนภาคปฏิบัติ
   - รายงานและชิ้นงาน
   - การนำเสนอ
   - จรรยาบรรณวิชาชีพ
50
30
10
10
                      รวม
100


2.  เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้
                1.  นักศึกษาที่มีสิทธิ์สอบ        :  ต้องเข้าเรียนไม่ต่ำกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด
                2.  นักศึกษาที่ผ่านเกณฑ์         :  ได้คะแนนตั้งแต่ 60% ขึ้นไป
                3.  นักศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ :  ซ่อมเสริมโดยเฉพาะส่วนที่มีปัญหาจนผ่านเกณฑ์
                4.  ตัดเกรดโดยวิธีอิงเกณฑ์
                5.นักศึกษาทำผิดจรรยาบรรณวิชาชีพถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์
แนวทางการช่วยเหลือนักศึกษาที่สอบไม่ผ่าน
                1.  ให้มีการสอบซ่อม 3 ครั้ง   โดยเกณฑ์ในการสอบผ่านแต่ละครั้ง  กำหนดที่อย่างน้อยต้องมากกว่าร้อยละ 50 หรือแล้วแต่อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาเป็นผู้กำหนดทั้งนี้ต้องทำงานเสริมตามที่กำหนดไว้
                2.  ในการสอบซ่อม  อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาสามารถใช้ข้อสอบชุดเดิม  หรือออกข้อสอบชุดใหม่ที่    ใกล้เคียงชุดเดิมได้
                3.  ในการสอบซ่อมครั้งที่ 3  อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาสามารถให้นักศึกษาสอบซ่อมในเฉพาะหัวข้อที่ สอบไม่ผ่านได้
                4.  ถ้านักศึกษาสอบไม่ผ่านทั้ง  3  ครั้ง  ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชากำหนดงานมอบหมายให้แก่นักศึกษา โดยกำหนดระยะเวลาที่ส่งงานให้ชัดเจน  หากนักศึกษาไม่ส่งตามกำหนด  ให้ถือว่าสอบไม่ผ่านในวิชานั้น ๆ











หมวดที่   6   ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
ตำราและเอกสารหลัก
                เอกสาร/หนังสืออ่านประกอบ
กองประกอบโรคศิลปะสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ตำราแพทย์แผนไทยโบราณทั่วไป     สาขาการผดุงครรภ์.
กองประกอบโรคศิลปะ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขา
เวชกรรม.เล่ม 1
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง. เล่ม 1,2.
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์. เล่ม 1,2,3.
พงศา วิสุทธาธิบดี และพระยา(สุนทรเวช).(2476). แพทย์ตำบล เล่ม 2 เรื่องการรักษาโรคเด็ก พิมพ์                 ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ห้องสมุดไทย.
พิษณุประสาทเวช,พระยา. ตำราเวชศึกษา. เล่ม 1,2,3.
________.(2451). เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สังเขป. เล่ม 1 พระนคร :  โรงพิมพ์ไทย.
________.(2456).เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สังเขป.เล่ม 1 พระนคร :  โรงพิมพ์พฤฒิมาศ.
________.เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สังเขป เล่ม 2 พระนคร :  โรงพิมพ์สามัคคี         ม.ป.ท.
________.(2450). แพทย์ศาสตร์ เล่ม 1 พระนคร :  โรงพิมพ์ไทย.
________.(2450). แพทย์ศาสตร์ เล่ม 1 พระนคร :  โรงพิมพ์ศุภการจำรูญ.
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ.(2538) ประมวลทฤษฎีการแพทย์แผนไทย สมุฏฐานวินิจฉัย กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ อายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์).(2535). ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับอนุรักษ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สามเจริญพาณิช.
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ อายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์). (2536). ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับพัฒนา ตอนที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สีไทยพาณิช.
__________. (2538). ตำราการแพทย์ไทยเดิม  (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับพัฒนา ตอนที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สีไทยพาณิช.       
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(2548). เวชกรรมแผนไทย สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ (วัดพระเชตุพนธ์).ตำราเวชศึกษา และตำราประมวลหลักเภสัช.
โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วรมหาวิหาร.(2504).แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1
พระนคร : สุพจน์การพิมพ์.
โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วรมหาวิหาร.(2532).แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1
พระนคร : บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.
สมาคมโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ สำนักวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์. เล่ม 12 และ 3.
โสพิศบรรณารักษ์, ขุน.(2513).  คัมภีร์แพทย์แผนไทยโบราณ.เล่ม 1.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบ      นายกรัฐมนตรี.
หมวดที่  7   การประเมินและการปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
                :  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
                :  แบบประเมินผู้สอน  และแบบประเมินรายวิชา
2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
                :  การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
                :  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
                :  ผลการสอบ/การเรียนรู้
                :  การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
3.  การปรับปรุงการสอน
                :  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
                :  การวิจัยในชั้นเรียน
4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
                :  มีคณะกรรมการกลางตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา  (คะแนน/เกรด)  กับข้อสอบ  รายงาน  โครงการ  และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษา
5.  การดำเนินการทบทวน  และการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
                :  ปรับปรุงประมวลรายวิชาทุกปีตามผลการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน